ประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างไทย-ซาอุดีอาระเบียกลับมาเป็นกระแสอีกครั้งหลังจากที่รัฐมนตรีต่างประเทศของไทย นายดอน ปรมัตถ์วินัย ให้สัมภาษณ์ระหว่างเดินทางไปร่วมประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ณ ประเทศเวียดนาม ระหว่างวันที่ 11-13 มกราคม 2020 ว่าตนเองได้เดินทางเยือนประเทศบาห์เรน ซาอุดีอาระเบีย และโอมาน พร้อมทั้งกล่าวว่า การเดินทางเยือนซาอุดีอาระเบียนั้น เป็นการเดินทางเยือนตามคำเชิญของฝ่ายซาอุดิอาระเบีย ซึ่งมีการนัดหมายกันไว้ล่วงหน้าและยังถือเป็นการเดินทางเยือนซาอุดิอาระเบียครั้งแรกของรัฐมนตรีต่างประเทศไทยในรอบ 30 ปี
ตอนที่แล้ว ได้พูดถึงปัจจัยภายนอกด้านเศรษฐกิจที่ทำให้ออตโตมันเสื่อมคลาย วันนี้เรามาดูปัจจัยภายนอกด้านสังคมกันบ้าง เริ่มจากการที่ประเทศยุโรปต่างๆ ได้อ้างสิทธิพลเมืองภายในอาณาจักรเพื่อเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจักรวรรดิออตโตมันในหลายรูปแบบ
ตอนที่แล้วได้อธิบายถึงปัจจัยภายนอกที่ทำให้ออตโตมันเสื่อมถอย โดยเน้นไปที่ประเด็นการเมืองเป็นลำดับแรก วันนี้ก็เลยจะนำเสนอประเด็นเชิงเศรษฐกิจต่อเนื่องกันไปเลยครับ โดยจะแบ่งเป็น 2 เรื่องด้วยกัน
วิหารเซนต์โซเฟีย มีชื่อเรียกในภาษาละตินว่า "Sancta Sophia" และ "Haghia Sofia" ในภาษากรีก สร้างในสมัยจักรพรรดิจัสติเนียน โดยฝีมือรังสรรค์ของอันเธนิอุสแห่งทรัสลิส และอีซีโดรุสแห่งมีเลตุส ใช้เวลาสร้างเกือบ 6 ปี จึงเสร็จสมบูรณ์เมื่อ ค.ศ. 537 และทำซ้ำอีกครั้งเมื่อ ค.ศ. 563 หลังการซ่อมแซมยอดโดมที่พังลงมาเพราะแผ่นดินไหว
ว่ากันว่า ขณะที่ภายในอาณาจักรออตโตมันกำลังปั่นป่วนเกิดการก่อการจลาจลภายในที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่อีกด้านหนึ่งอำนาจประเทศยุโรปก็กำลังเพิ่มพูน ยุโรปได้ใช้สถานการณ์ดังกล่าวสร้างความยุ่งยากลำบากให้แก่โลกมุสลิม
มัสยิดสุลต่านอาห์เม็ด หรือมัสยิดสีน้ำเงิน (Blue Mosque) ถือเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของเมืองอิสตันบูล สร้างขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1609- 1616 โดยมีแรงบันดาลใจมาจากความพยายามที่จะสร้างมัสยิดที่มีขนาดใหญ่กว่าวิหารเซนต์โซเฟีย (หรือ ‘ฮาเกียโซเฟีย’) เพราะแต่เดิมนั้น วิหารเซนต์โซเฟียได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคกลาง ทำให้สุลต่านแห่งออตโตมันหลายพระองค์ต้องการกสร้างมัสยิดขนาดใหญ่ให้เทียบเท่าหรือใหญ่กว่าวิหารเซนต์โซเฟีย