อาหรับศึกษา

การล่มสลายของอาณาจักรออตโตมัน ตอนที่ 6 (ตอนจบ)

ตอนที่แล้ว ได้พูดถึงปัจจัยภายนอกด้านเศรษฐกิจที่ทำให้ออตโตมันเสื่อมคลาย วันนี้เรามาดูปัจจัยภายนอกด้านสังคมกันบ้าง เริ่มจากการที่ประเทศยุโรปต่างๆ ได้อ้างสิทธิพลเมืองภายในอาณาจักรเพื่อเข้าแทรกแซงกิจการภายในของจักรวรรดิออตโตมันในหลายรูปแบบ

การล่มสลายของอาณาจักรออตโตมัน ตอนที่ 5

ตอนที่แล้วได้อธิบายถึงปัจจัยภายนอกที่ทำให้ออตโตมันเสื่อมถอย โดยเน้นไปที่ประเด็นการเมืองเป็นลำดับแรก วันนี้ก็เลยจะนำเสนอประเด็นเชิงเศรษฐกิจต่อเนื่องกันไปเลยครับ โดยจะแบ่งเป็น 2 เรื่องด้วยกัน

การล่มสลายของอาณาจักรออตโตมัน ตอนที่ 4

ว่ากันว่า ขณะที่ภายในอาณาจักรออตโตมันกำลังปั่นป่วนเกิดการก่อการจลาจลภายในที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่อีกด้านหนึ่งอำนาจประเทศยุโรปก็กำลังเพิ่มพูน ยุโรปได้ใช้สถานการณ์ดังกล่าวสร้างความยุ่งยากลำบากให้แก่โลกมุสลิม

การล่มสลายของอาณาจักรออตโตมัน ตอนที่ 3

ในช่วงศตวรรษที่ 17 ขณะที่ประเทศยุโรปเผชิญกับปัญหาเงินเฟ้อ เขามีมาตรการในการแก้ปัญหาโดยการปฏิรูปสถาบันการเมืองใหม่ อีกทั้งยังพัฒนาเศรษฐกิจโดยการแสวงหาความมั่งคั่งจากการทำการค้ากับดินแดนอื่น ๆ หากแต่จักรวรรดิออตโตมันกลับเลือกใช้มาตรการลดค่าเงินตราเพื่อให้รัฐบาลกลางมีเงินจ่ายกองทหารแจนิสซารีมากขึ้น

การล่มสลายของอาณาจักรออตโตมัน ตอนที่ 2

ช่วงศตวรรษที่ 16 ชาติยุโรปเริ่มผงาดขึ้นมาจากการปฏิวัติทางการค้า (Commercial Revolution) ทำให้บางประเทศ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์ เจริญรุ่งเรือง เกิดความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ และได้เริ่มสะสมทุนสะสมทรัพยากรอย่างต่อเนื่องเพื่อเลี้ยงดูประชากรที่เพิ่มมากขึ้น

การล่มสลายของอาณาจักรออตโตมัน ตอนที่ 1

นักวิชาการด้านตะวันออกกลางยังคงถกเถียงกันไม่จบว่า ยุคสมัยใหม่ของภูมิภาคควรเริ่มต้นนับจากช่วงเวลาใด บางคนบอกว่าต้องนับเริ่มต้นจากการบุกยึดครองอียิปต์ของนโปเลียน โบนาปาร์ตเมื่อปี 1798 แต่บางคนก็เริ่มต้นนับจากการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2

ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลางสมัยใหม่ ตอนที่ 8

ตะวันออกกลางถือเป็นภูมิภาคที่มีความอ่อนไหวมากที่สุดของโลก ทั้งในด้านยุทธศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง และวัฒนธรรม ตะวันออกกลางเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่เชื่อมทวีปทั้ง 3 คือ แอฟริกา เอเชีย และยุโรป และตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน อยู่ติดมหาสมุทรทั้ง 3 ของโลก

ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลางสมัยใหม่ ตอนที่ 7

ก่อนการสถาปนารัฐอิสราเอลใน ค.ศ. 1948 พร้อมกับการสิ้นอำนาจของอาณานิคมยุโรปในตะวันออกกลาง มีชุมชนชาวยิวขนาดใหญ่ดำรงอยู่ในแทบทุกประเทศ ยกเว้นซาอุดีอาระเบียและประเทศแถบอ่าวเปอร์เซีย โดยชาวยิวที่ไปตั้งชุมชนในประเทศเหล่านี้จะพูดภาษาของประเทศหรือท้องถิ่นนั้นๆ (อาหรับ เปอร์เซีย ตุรกี) และมักอยู่รวมกันในชุมชนเมือง

ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลางสมัยใหม่ ตอนที่ 6

คริสต์ศาสนิกชนในภูมิภาคตะวันออกกลางมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนานและซับซ้อนเกินกว่าที่ผู้เขียนจะทำความเข้าใจได้ทั้งหมด หากพบว่ามีข้อมูลผิดพลาดหรืออยากเสริมข้อมูลเพิ่มเติมก็เชิญได้เลยครับ ถือเสียว่าเป็นการเรียนรู้ทำความเข้าใจตะวันออกกลางไปพร้อม ๆ กัน

ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลางสมัยใหม่ ตอนที่ 5

ศาสนาถือเป็นเครื่องบ่งชี้ทางอัตลักษณ์ของผู้คนในตะวันออกกลางที่สำคัญอีกประการหนึ่ง อิสลามซึ่งเป็นศาสนาที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือ ก่อกำเนิดขึ้นอีกครั้งทางตอนเหนือของคาบสมุทรอาหรับ…