บริการวิชาการ

ชวนอ่านบทความวิจัย การบริหารจัดการฮัจญ์ของซาอุดิอาระเบีย: สำรวจปัญหาการดำเนินกิจการฮัจญ์ของไทย และรูปแบบการจัดการของอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์

ศูนย์มุสลิมศึกษาฯ ชวนทุกท่านอ่านบทความวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการฮัจญ์ของซาอุดิอาระเบีย: สำรวจปัญหาการดำเนินกิจการฮัจญ์ของไทย และรูปแบบการจัดการของอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์ โดย ศราวุฒิ อารีย์, อารีฝีน ยามา และ ซารีฮาน ขวัญคาวิน ซึ่งเผยแพร่ผ่าน วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2565)

74 ปีโศกนาฏกรรมนักบะห์: ความจริงทางประวัติศาสตร์และภาระผูกพันด้านมนุษยธรรม

วันที่ 15 พฤษภาคม ของทุกปีถือเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งท่ามกลางสถานการณ์ในปาเลสไตน์ที่ร้อนระอุอยู่ตลอดเวลา วันสำคัญที่ว่าคือการรำลึกถึง “วันแห่งความหายนะ” หรือ “นักบะห์เดย์”

สรุปงานเสวนามุสลิมศึกษาออนไลน์ครั้งที่ 1: “Hajj and COVID-19: โรคระบาดส่งผลต่อกิจการฮัจญ์อย่างไร?”

สำหรับภารกิจฮัจญ์นั้น ถือเป็นหลักปฏิบัติอิสลามข้อที่ 5 ที่มีผลบังคับใช้สำหรับคนที่มีความสามารถ โดยในแต่ละปีรัฐบาลประเทศซาอุดิอาระเบียจะกำหนดโควตาให้กับทุกประเทศทั่วโลกที่มีประชากรมุสลิมอาศัยอยู่ตามสัดส่วนประชากรทั้งหมด เพื่อจัดระเบียบด้านความปลอดภัย และความเรียบร้อยให้กับผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ในเทศกาลฮัจญ์ของทุกๆปี สำหรับประเทศไทยสัดส่วนผู้ที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ เฉลี่ยตกอยู่ที่ 12,000 คน แต่ถึงแม้ว่าจะมีโควตาที่แน่นอน ก็ไม่สามารถยืนยันได้ว่ามุสลิมประเทศไทยจะสามารถเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ได้ทุกปี

ชนชาวเติร์กกับพลังและโมเมนตัมที่ขับเคลื่อนประวัติศาสตร์โลก ตอนที่ 4

เขียนโดย รองศาสตราจารย์ ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อำนวยการศูน.