บทความล่าสุด

ชวนอ่านบทความวิจัย การบริหารจัดการฮัจญ์ของซาอุดิอาระเบีย: สำรวจปัญหาการดำเนินกิจการฮัจญ์ของไทย และรูปแบบการจัดการของอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์

ศูนย์มุสลิมศึกษาฯ ชวนทุกท่านอ่านบทความวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการฮัจญ์ของซาอุดิอาระเบีย: สำรวจปัญหาการดำเนินกิจการฮัจญ์ของไทย และรูปแบบการจัดการของอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์ โดย ศราวุฒิ อารีย์, อารีฝีน ยามา และ ซารีฮาน ขวัญคาวิน ซึ่งเผยแพร่ผ่าน วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2565)

#GazaNakba2024

ย้อนกลับไปเมื่อ 76 ปีที่แล้วใน ค.ศ. 1948 สงครามอาหรับ-อิสราเอลครั้งแรกก่อผลให้ชาวปาเลสไตน์ต้องถูกบีบให้หนีออกจากแผ่นดินเกิดประมาณ 720,000-750,000 คน กลายเป็นวิกฤตผู้ลี้ภัยที่ทุกวันนี้ปัญหาก็ยังไม่ได้รับการแก้ไข

เปิดเหตุผลการเดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ไทย – ซาอุดิอาระเบีย

โดย ดร.ศราวุฒิ อารีย์ ผู้อำนวยการศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบั.

สรุปเรื่อง “องค์ประกอบทางศิลปกรรมของชาวตะวันตกที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะมุสลิม” จากหนังสือ Stealing from the Saracens: How Islamic Architecture shaped Europe (2020) โดย Diana Darke

ชื่อหนังสือก็จับใจจนทำให้อยากซื้อทันทีโดยไม่ต้องดูสารบัญ Stealing from the Saracens แปลตรงตัวว่า “ขโมยมาจากหัวขโมย” คำว่า “ขโมย” ในที่นี้หมายถึงชาวตะวันตกและ “หัวขโมย” คือมุสลิม ผู้เขียนเลือกใช้ชื่อนี้เพื่อเสียดสีฝรั่งที่อ้างว่าตนไม่ได้เป็นหนี้อะไรจากอารยธรรมอิสลาม ทั้งที่ศิลปะตะวันตกยุคกลางฟ้องว่ามี DNA ของศิลปะมุสลิมอยู่ชัด

ชนชาวเติร์กกับพลังและโมเมนตัมที่ขับเคลื่อนประวัติศาสตร์โลก ตอนที่ 18

ชนชาวเติร์กในลักษณะชนเผ่าสร้างรัฐเล็กๆขึ้นในหลายพื้นที่ของเอเชียกลาง ทั้งสามารถสร้างจักรวรรดิใหญ่ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางขึ้นอย่างน้อยสองครั้งคือ “เซลจุก” (Seljuk ค.ศ.1037-1194) และ “ออตโตมัน” (Ottoman ค.ศ.1299-1922) หรือ “อุสมานียะฮฺ” จักรวรรดิเซลจุกอายุสั้นเพียงศตวรรษครึ่ง ขณะที่อุสมานียะฮฺมีอายุยาวนานกว่า 6 ศตวรรษ ทั้งสองจักรวรรดิเกี่ยวข้องกันโดยต่างเป็นชนเผ่าเติร์กเชื้อสายโอกุซ (Okhuz)

ชนชาวเติร์กกับพลังและโมเมนตัมที่ขับเคลื่อนประวัติศาสตร์โลก ตอนที่ 17

ตุรกีคือพื้นที่หลักของชนเชื้อสายเติร์กที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมมาจากเอเชียกลาง การอพยพย้ายถิ่นของชาวเติร์กมายังอะนาโตเลียไม่ต่างจากคนยุโรปอพยพไปอเมริกาสักเท่าไหร่ ชาวเติร์กมีรกรากเดิมอยู่ในไซบีเรียตอนใต้ อพยพลงมาในพื้นที่เอเชียกลางตั้งแต่ยุคเริ่มประวัติศาสตร์ กระจายตัวสร้างอาณาจักรทั่วพื้นที่ ทว่าเติร์กส่วนมากเป็นชนเร่ร่อนเลี้ยงปศุสัตว์โยกย้ายถิ่นไปเรื่อย ชนเติร์กเมื่อเข้ารับอิสลามจึงง่ายต่อการโยกย้ายลงมาในพื้นที่ของเปอร์เซียตอนล่าง

ชนชาวเติร์กกับพลังและโมเมนตัมที่ขับเคลื่อนประวัติศาสตร์โลก ตอนที่ 16

อารยธรรมแสดงถึงความรุ่มรวยของแต่ละสังคมจะสร้างอารยธรรมได้สังคมต้องมีความสงบอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาพอควร การรักษาอารยธรรมไว้จำเป็นต้องมีกองทัพเข้มแข็ง เศรษฐกิจมั่นคง จีนคือตัวอย่างที่ดี ขณะที่ฮารัปปาและโมฮันโจดาโรอารยธรรมเก่าแก่ในปากีสถานหลายพันปีมาแล้วเพราะมีกองทัพอ่อนแอจึงสูญสิ้นชาติ

ชนชาวเติร์กกับพลังและโมเมนตัมที่ขับเคลื่อนประวัติศาสตร์โลก ตอนที่ 15

แผ่นดินจีนในศตวรรษที่ 3 เกิดยุคสามก๊กแย่งชิงแผ่นดินกันระหว่าง วุยก๊ก จ๊กก๊ก และง่อก๊ก สุดท้ายกลายเป็นสุมาอี้ขุนศึกของวุยก๊กพร้อมลูกหลานคว้าชิ้นปลามันไปกิน ในเอเชียกลางช่วงศตวรรษที่ 9-11 เกิดสามก๊กฉบับเติร์กขึ้นเช่นกันระหว่างรัฐเติร์ก-เปอร์เซีย

ชนชาวเติร์กกับพลังและโมเมนตัมที่ขับเคลื่อนประวัติศาสตร์โลก ตอนที่ 14

เขียนโดย รองศาสตราจารย์ ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อำนวยการศูน.

ชนชาวเติร์กกับพลังและโมเมนตัมที่ขับเคลื่อนประวัติศาสตร์โลก ตอนที่ 13

ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 อาหรับจากอาระเบียนำอิสลามเผยแผ่เข้าไปในเอเชียกลางที่ในเวลานั้นรัฐธิเบตกับชนเผ่าเติร์กในเอเชียกลางกำลังร่วมมือกันต่อสู้กับการแผ่อำนาจของจีนราชวงศ์ถัง จึงขอความร่วมมือมายังราชวงศ์อุมัยยะฮฺนำไปสู่สงครามระหว่างพันธมิตรสามฝ่าย ธิเบต-เติร์ก-อาหรับกับจีนใน ค.ศ.717 เกิดการศึกแห่งอักซู (Battle of Aksu)